ข้อจำกัดของการให้เหตุผลแบบอุปนัย

   1. ข้อสรุปที่ได้จากการให้เหตุผลแบบอุปนัยที่ยอมรับว่าเป็นจริงนั้นอาจจะเกิดข้อขัดแย้งกับข้อความที่เป็นเหตุเรายังไม่ได้อ้างไว้ก่อนเพราะข้อความที่เป็นเหตุยังมีอยู่อีกมากมีจำนวนไม่จำกัด

   2. จากการสังเกตข้อเท็จจริงจากเหตุหรือสมมุติฐานในเหตุการณ์หรือตัวอย่างที่หามา แล้วนำมาสรุปเป็นการวางนัยทั่วไปอาจจะไม่ใช่ข้อสรุปที่ถูกต้องก็ได้เพราะอาจมีตัวอย่างที่ไม่เป็นไปตามข้อสรุปที่ได้มาใหม่แน่นอนกว่าทำให้ข้อสรุปนั้นผิดไป

   3. ข้อสรุปที่มาจากการให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นการวางนัยทั่วไปซึ่งไม่ได้ให้ความจริงกับเราได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ข้อสรุปนี้อาจจะถูกต้องหรือผิดก็ได้และเป็นเพียงข้อสรุปที่มีความจริงว่าจะเป็นสิ่งที่จะถูกต้องเท่านั้น

ที่มาของข้อมูล

http://www.google.co.th/url?url=http://bowwy.files.wordpress.com/2011/01/e0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b884e0b893e0b8b4e0b895-e0b8a1-4.ppt&rct=j&frm=1&q=&esrc=s&sa=U&ei=MHCZU96rBtbn8AX404KYBg&ved=0CB8QFjAC&usg=AFQjCNEMQJSgOGTRUC9gLr_W-RWIZxVHYg

http://www.slideshare.net/laong9876/ss-10248571

https://sites.google.com/site/jubjang2535za/bth-thi-2-kar-hi-hetuphl/1-kar-hi-hetuphl-baeb-xupnay

ใส่ความเห็น